102003.com

หินอัคนี มี กี่ ชนิด: หินอัคนี มีกี่ชนิด อะไรบ้าง

หินลูกรัง เป็นหินที่มีลักษณะหยาบ สีน้ำตาลแดง ขนาดค่อนข้างเล็กและละเอียดมาก นิยมใช้ในงานก่อสร้าง เช่น งานถมที่หรืองานถมถนนต่างๆ โดยลูกค้าสามารถเลือกได้ ว่าต้องการลูกรังขนาดเล็กหรือใหญ่ เพื่อที่ทางร้านจะได้จัดให้ได้ตามต้องการ 2. หินคลุก เป็นหินปูนที่มีขนาดต่างกันมาปะปนอยู่รวมกัน มีหลายเกรดแล้วแต่ความเหมาะสมในการใช้งาน ไม่เหมาะสำหรับนำไปใช้เป็นหินก่อสร้างหรือบดเป็นปูนซีเมนต์ เพราะจะไม่ได้ขนาดหรือแร่ธาตุตามต้องการ ส่วนใหญ่จึงนิยมนำใช้ถมถนนร่วมกับหินลูกรัง หรือนำไปทำเป็นอิฐบล็อค 3. หินก่อสร้าง (หิน 1, หิน 2, หิน3/4, หินเกล็ด, หินฝุ่น) เป็นหินที่เกิดจากการทับถมกันของตะกอนคาร์บอเนตในท้องทะเล รวมกับซากสิ่งมีชีวิตและสารอนินทรีย์อื่นๆ ภายใต้ความกดดันและตกผลึกใหม่จนเป็นหินที่มีแร่แคลไซต์ ปัจจุบันนิยมนำมาใช้ทำปูนซิเมนต์ และใช้งานก่อสร้างอื่นๆ ซึ่งจะมีชื่อเรียกแตกต่างกันไปตามขนาดของหิน – หินสี่ขนาด 8 -16 นิ้ว – หินสามขนาด 3 – 4 นิ้ว – หินสองขนาด 1 – 2 นิ้ว – หินหนึ่งขนาด 1 นิ้ว – หินฝุ่นมีขนาดประมาณ 1/2 นิ้ว 4. หินกรวด เป็นหินเนื้อหยาบที่เกิดจากตะกอนเล็กๆ ของหิน กรวด ทราย ถูกกระแสน้ำพัดพามาทับถมรวมกันตามริมแม่น้ำ และเป็นวัสดุสำคัญ ที่ใช้ในงานก่อสร้างต่างๆ เช่น ใช้สำหรับประดับตกแต่งสวนหรือใช้สำหรับก่อสร้างอาคารบ้านเรือน ที่มา บริษัท ชูแวนแมททีเรียล

๑. หินอัคนี - webbaitong

  • สอน ทำ ซาลาเปา
  • Counter bar ราคา jib
  • หินตะกอน : ชนิดและการจำแนก – วิชาการธรณีไทย GeoThai.net
  • หินอัคนีมีกี่ชนิด
  • World apocalypse online แปล
  • หินอัคนี มีกี่ชนิด อะไรบ้าง
  • วิธีคัดลอกการจัดรูปแบบตามเงื่อนไขใน Google ชีต - Khao Ban Muang
  • ขนม ใน 7 11 delivery
  • การสกัดเซลลูโลสจากฟางข้าว
  • เกมส์บลีชปะทะนารูโตะ 3.1 Bleach Vs Naruto 3.1 Game

หินชนิดใดที่มักประกอบด้วยฟอสซิล และคุณคิดว่าสิ่งนี้เกิดขึ้นได้อย่างไร?

หินตะกอน : ชนิดและการจำแนก – วิชาการธรณีไทย GeoThai.net

หินอัคนีมีกี่ชนิด

เนื้อหยาบ (Phaneritic texture) เม็ดแร่มีขนาดไล่เลี่ยกัน และใหญ่พอที่จะมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า เนื้อชนิดนี้เป็นลักษณะของหินอัคนีแทรกซอน ซึ่งแข็งตัวที่ระดับลึก (Intrusive igneous rock หรือ phutonic rock) 2. เนื้อละเอียด (Aphanitic texture) เม็ดแร่เป็นผลึกเล็กไม่สามารถเห็นด้วยตาเปล่า ต้องอาศัยกล้องจุลทรรศน์ เนื้อชนิดนี้จะเนียนเห็นเป็นสีเดียวกันหมด และเป็นลักษณะของหินภูเขาไฟที่แข็งตัวบนผิวโลก (Extrusive igneous rock หรือ volcanic rock) 3. เนื้อดอกหรือผลึกสองขนาด (Porphyritic texture) เม็ดแร่ในหินแยกออกได้เป็นสองขนาด ผลึกหยาบ (Phenocryst) เกิดจากการเจริญของผลึกในแมกมามีเวลานานพอที่จะได้ผลึกขนาดใหญ่ ทั้งนี้ เนื่องจากการเย็นตัวเป็นไปอย่างช้าๆ ส่วนผลึกละเอียด (Matrix หรือ groundmass) เกิดจากการแข็งตัวอย่างรวดเร็วของแมกมาหรือลาวา ส่วนที่เป็นผลึกละเอียดนี้จะอยู่ล้อมรอบผลึกหยาบ และอาจมีเนื้อหินแบบหยาบหรือละเอียดก็ได้ เช่น เนื้อดอกซึ่งส่วนผลึกละเอียดมีเนื้อหยาบก็คือ porphyritic-phaneritic texture ลักษณะเนื้อหินสามประเภทแรกนี้จะใช้ในการเรียกชื่อหินชนิดต่างๆ 4. เนื้อแก้วหรืออสัณฐาน (Glassy หรือ amorphous texture) มีลักษณะเหมือนแก้วธรรมดา ไม่มีผลึก เพราะแมกมาแข็งตัวโดยเร็วทันทีที่ถูกพ่นขึ้นสู่ผิวโลก เนื้อหินชนิดนี้หายากและเกิดโดยการระเบิดของภูเขาไฟ 5.

Chemical origin เกิดจาการตกตะกอน (precipitation) ในแหล่งน้ำธรรมชาติ โดยกรรมวิธีทางเคมี เช่น หินปูน (limestone) เป็นต้น 3. Biochemical (organic) origin เกิดจากการทับถมของซากพืชและสัตว์แล้วเกิดการเปลี่ยนแปลงจนกลายเป็นหิน เช่น ถ่านหิน หรือมีตะกอนชนิดอื่นมาเชื่อมประสานซากเหล่านั้นจนเป็นหิน เช่น โคควินยา (coquina) เนื้อหิน (Texture) หินตะกอนมีเนื้อหิน 2 ชนิด คือ 1. เนื้อเม็ด (Clastic texture) คือ เนื้อที่ประกอบด้วยเศษหิน และเม็ดแร่ ซึ่งแตก หรือผุพังมาจากหินเดิม หินที่มีเนื้อชนิดนี้ เราเรียกชื่อ โดยอาศัยขนาดของเม็ดแร่ (grain size) เป็นหลัก เราแบ่งขนาดตะกอนตาม Wentworth’s Scale ได้ดังนี้ กลุ่มกรวด (Gravel): ขนาดใหญ่กว่า 256 มม. เรียกว่า ก้อนหินมนใหญ่ (boulder) ขนาดระหว่าง 64-256 มม. เรียกว่า ก้อนหินมนเล็ก (cobble) ขนาดระหว่าง 4-64 มม. เรียกว่า กรวด (pebble) ขนาดระหว่าง 2-4 มม. เรียกว่า กรวดเล็ก (granule) กลุ่มทราย (Sand): ขนาดระหว่าง 0. 062-2 มม. เรียกว่า ทราย (sand) กลุ่มโคลน (Mud): ขนาดระหว่าง 0. 004-0. 062 มม. เรียกว่า ซิลต์ หรือทรายแป้ง (silt) ขนาดเล็กกว่า 0. 004 มม. เรียกว่า ดินเหนียว (clay) 2.