102003.com

มะหาด ชื่อ วิทยาศาสตร์

ปวกหาด ชื่อเครื่องยา ปวกหาด ชื่ออื่นๆของเครื่องยา ได้จาก ผงฟองที่เกิดจากการต้มแก่นมะหาดอายุ 5 ปีขึ้นไป ชื่อพืชที่ให้เครื่องยา มะหาด ชื่ออื่น(ของพืชที่ให้เครื่องยา) กาแย ขนุนป่า ตาแป ตาแปง มะหาดใบใหญ่ หาดหนุน หาด ชื่อวิทยาศาสตร์ Artocarpus lakoocha Roxb. ชื่อพ้อง Artocarpus lacucha Buch.

  1. มะหาด
  2. มะหวด - วิกิพีเดีย
  3. บันทึกประจำวัน: ผลไม้ป่า "มะหาด"
  4. สมุนไพรไทยรักษาโรค: มะหาด

มะหาด

มะหวด ชื่อสมุนไพร มะหวด ชื่ออื่นๆ สีหวด (นครราชสีมา) กำซำ กะซ่ำ มะหวด (ภาคกลาง) ชันรู มะหวดบาท มะหวดลิง (ภาคตะวันออกเฉียงใต้) กำจำ (ภาคใต้) ซำ (ทั่วไป) นำซำ มะจำ (ภาคใต้) มะหวดป่า หวดคา (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) สีฮอกน้อย หวดลาว (ภาคเหนือ) หวดฆ่า (อุดรธานี) ชื่อวิทยาศาสตร์ Lepisanthes rubiginosa (Roxb. ) Leenh.

  • สมุนไพรไทยรักษาโรค: มะหาด
  • ขายด่วน รถตู้ Chevrolet Chevy van 2.0 รถมือสองราคาถูก ๆ สนใจต่อราคามาเลย - Truck2Hand.com
  • มะหาด: ต้นมะหาด
  • มะหวด - ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ ม.อุบล : phargarden.com
  • The fitness lasalle ราคา
  • ราคา ต้น คูณ ภาษาอังกฤษ
  • นางฟ้า ซามูไร 1.2

สมุนไพรไทยรักษาโรค: มะหาด

มะหวด - วิกิพีเดีย

ข้ามไปเนื้อหา จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี มะหวด หรือ กำชำ ชื่อวิทยาศาสตร์: Lepisanthes rubiginosa เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Sapindaceae ผิวเปลือกเรียบหรือเป็นแผ่นสะเก็ด สีน้ำตาลอมแดง แตกกิ่งจำนวนมาก ใบประกอบแบบขนนกชั้นเดียว ขอบใบเรียบ ดอกช่อแบบแตกแขนง แยกเพศไม่แยกต้น กลีบเลี้ยงมีขนสีน้ำตาล กลีบดอกสีขาวอมชมพู ดอกตัวผุ้มีเกสรตัวผู้ 8 อัน ผลเดี่ยว กลมรี อ่อนเป็นสีเขียว สุกแล้วเป็นสีแดงแล้วเปลี่ยนเป็นดำ มีเมล็ดเดียว ใบอ่อนกินเป็นผัก ผลกินเป็นผลไม้ รสหวาน รากใช้แก้ไข้ ปวดศีรษะ พอกรักษาโรคผิวหนังผื่นคัน แก้พิษ ฝี ตำพอกที่หัวฝี แก้โรคผิวหนัง เมล็ดแก้โรคไอ อ้างอิง [ แก้] มัณฑนา นวลเจริญ. พรรณไม้ป่าชายหาด. ปทุมธานี. สำนักพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ 2552 หน้า 13 ป่าแม่คำมี: ความหลากหลายทางชีวภาพจากอดีตถึงปัจจุบัน. กทม. สำนักวิจัยและพัฒนาป่าไม้. 2556

มะหาด (ชื่อวิทยาศาสตร์: Artocarpus lacucha) เป็นไม้ยืนต้นในวงศ์ Moraceae ต้นกำเนิดจากภูมิภาคเอเชียใต้ นิยมปลูกเอาไว้ใช้ประโยชน์ทุกส่วนของต้น สามารถเจริญเติบโตได้ในดินทราย, ดินร่วนปนทราย, ดินร่วน และ ดินเหนียว มีความทนทานต่อความแห้งแล้งได้ดีมาก ชอบบริเวณที่มีความชื้นสูงและแสงแดดเข้าถึงได้น้อย มักขึ้นกระจายตามป่าดิบทั่วไป การจำแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ อาณาจักร: Plantae หมวด: Angiosperm ชั้น: Dicotyledon อันดับ: Urticales วงศ์: Moraceae สกุล: Artocarpus สปีชีส์: lacucha ชื่อทวินาม Artocarpus lacucha Buch. -Ham. ชื่อพ้อง Artocarpus lakoocha Roxb.

บันทึกประจำวัน: ผลไม้ป่า "มะหาด"

ตรวจรางวัล 1 มีนาคม 2564

8-1 เซนติเมตร กลีบดอกสีขาว กลีบดอก 4-5 กลีบ เกลี้ยงหรือมีขนนุ่ม โคนกลีบแคบ มีขนและมีเกล็ดเล็กๆ 1 เกล็ด ที่มีสันนูน 2 สัน เกสรเพศผู้ 8 อัน ก้านเกสรมีขนสีน้ำตาลอ่อน ก้านเกสรตัวเมียยาว ไม่มีขน กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปครึ่งวงกลม กลีบนอก 2 กลีบ เล็กกว่ากลีบใน มีขนด้านนอก ผล สดแบบมีเนื้อ รูปรีเว้าเป็นพู ผิวเกลี้ยง กว้าง 0. 5-1 เซนติเมตร ยาว 1.

สมุนไพรไทยรักษาโรค: มะหาด

(Ma Hat) ชื่อวิทยาศาสตร์ Artocarpus lakoocha Roxb. ชื่อวงศ์ M0RACEAE ชื่ออื่น หาด มะหาดใบใหญ่ ถิ่นกำเนิด อินเดียและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ลักษณะทั่วไป ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูง 15-25 ม. ขนาดทรงพุ่ม 10-12 ม. ไม่ผลัดใบ ทรงพุ่มกลม ลำต้นเปลาตรง เปลือกต้นขรุขระ เป็นปุ่มปมสีนํ้าตาลอมดำหลุดล่อนเป็นเกล็ดและยางไหลซึมแห้งติดต้น ใบ ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปไข่หรือรูปขอบขนาน กว้าง 5-12 ซม. ยาว 10-25 ซม. ปลายใบมนเว้า โคนใบเบี้ยว ขอบเป็นจักฟันเลื่อยเล็กๆ และเป็นคลื่น แผ่นใบหนาและเหนียว ย่นเป็นลอน สีเขียวเข้มเป็นมัน ผิวใบด้านล่างสีเขียวอมเทามีขนประปรายใบอ่อนมีขนสีนํ้าตาลแดงหนาแน่น ก้านใบยาว 2-4 ซม. ดอก สีเหลือง ออกเป็นช่อแบบช่อกระจุกแน่น ฝังตัวอยู่บนฐาน รองดอกที่ซอกใบใกล้ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง 4 กลีบ ดอกแยกเพศร่วมต้น ดอกเพศผู้กลีบดอกค่อนข้างกลมมน โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอด ออกเป็นช่อเดี่ยวช่วงล่าง ถัดจากดอกเพศเมีย เส้นผ่านศูนย์กลางช่อดอก 0. 8-1. 5 ซม. เกสรเพศผู้จำนวนมาก ช่อดอกเพศเมีย รูปไข่หรือรูปขอบขนาน กว้าง 0. 2 ซม. ยาว 1. 2-2. 3 ซม. ปลายกลีบดอกหยัก ออกดอกเดือน ก. พ. -เม. ย. ผล ผลสดแบบมีเนื้อ เป็นผลรวมทรงกลมแป้น ขนาด 6-8 ซม.

ต้นมะหาด ชื่อวิทยาศาสตร์: Artocarpus lakoocha Roxb.

มะหาด ชื่อวิทยาศาสตร์
  1. Como คอ ล ลา เจน